งานวิจัย

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต - สาขาวิชาฉุกเฉินการแพทย์ ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

 

รายชื่องานวิจัยของนักศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์

ลำดับที่

เรื่อง

ผลการพิจารณาจริยธรรม

1

การทํานายภาวะกระดูกสันหลังส่วนคอหักในผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณคอ
Clinical scoring of cervical spine fracture in traumatic neck injury patient

2

การฝึกอบรมกลุ่มอาสาสมัครดูแลช่วยเหลือในภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น (ERT) สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในนักศึกษาและบุคคลากรในมหาวิทยาลัยมหิดลได้หรือไม่
Can Emergency Response Team (ERT) training by paramedic student improve basic life support quality in undergraduate student and university staff in Mahidol University?

3

การศึกษาประสิทธิภาพการยึดตรึงท่อช่วยหายใจโดยใช้อุปกรณ์ Thomas tube holder ในหุ่น
The efficacy of endotracheal Thomas tube holder in manikin model: a prospective randomization

4

การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยา Digoxin และ Amiodarone ในการควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจในผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดเร็วที่ห้องฉุกเฉิน
Comparison of effectiveness of Digoxin and Amiodarone in rate control atrial fibrillation patient in emergency department

5

การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใส่ทอ่ช่วยหายใจระหว่างวธิีนอนราบและวิธีนั่งคุกเข่าในหุ่นที่จำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ
Comparison of prone and kneeling intubation in mannequin model with limitation of neck movement, a cross over design

6

เปรียบเทียบการใส่ท่อหายใจและการช่วยหายใจชนิดมือบีบในผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล
Comparison of on-scene ET-tube intubation and Bag valve mask ventilation in out of hospital cardiac arrest patient

7

การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจด้วย Video laryngoscope และ Macintosh laryngoscope ในหุ่นทดลองท่านั่งที่มีการจำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ
Video laryngoscope versus conventional intubation in limit neck motion sitting manikin model

8

การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพการกดหน้าอกกู้ชีพในท่านั่งคร่อมและท่าปกติในโมเดลหุ่น
Straddle compared with conventional chest compressions in manikin model

9

ความจำเป็นในการถอดเฝือกดามคอชนิดแข็งในผู้ป่วยที่มีการใส่ท่อช่วยหายใจ : การศึกษาในโมเดลหุ่น
Is it necessary to remove cervical hard collar for endotracheal intubation: study in manikin model

ระหว่างดำเนินการ

10

การศึกษาคุณภาพของการกดหน้าอกด้วยเครื่อง CPR RsQ assist ในโมเดลหุ่น
Dose CPR RsQ assist improve Chest compression quality Study in manikin model?

ระหว่างดำเนินการ

11

การศึกษาเปรียบเทียบการแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยการใช้ R-CAT และแบบปกติ
Comparsion of using RCAT and conventional method for EKG interpretation

12

ประสิทธิภาพของการให้คำแนะนำการกดหน้าอกทางโทรศัพท์ในสถานการณ์จำลอง
Effectiveness of online medical direction for chest compression in simulation model

13

การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการขจัดสิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจด้วยเครื่อง LifeVac® กับวิธี  back blows and chest thrusts ในโมเดลหุ่นเด็ก
Comparison of using LifeVac® versus back blows and chest thrusts to foreign body removal in pediatric manikin model

14

การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพความแม่นยำเครื่องมือต้นแบบเพื่อการวัดคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขณะหายใจโดยใช้ Microcontroller กับ อุปกรณ์ที่ใช้ในปัจจุบัน
Efficiency and accuracy of prototype Microcontroller Capnography and present-used capnography

15

การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพการกดหน้าอกแบบยกส้นมือกับการกดหน้าอกแบบปกติในโมเดลหุ่น
Comparison of lifting heel of hands with conventional chest compression in manikin model

16

การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพการใส่ท่อช่วยหายใจแบบปกติ และ แบบ Digital intubationในโมเดลหุ่น
Comparison of standard and digital intubation in mannequin model

17

การศึกษาเปรียบเทียบการใช Pediatric drug application และ RAMA Ped card ในการประมาณน้ำหนักผู้ป่วยเด็กที่ห้องฉุกเฉิน
Comparison of Pediatric drug application and Rama Ped card to estimate Pediatric body weight in emergency department

ระหว่างดำเนินการ

18

การศึกษาผลของการใช้วีดิโอสาธิตต่อประสิทธิภาพของการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในกลุ่มที่ไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์
Effectiveness of using Self-learning Video (SLV) for Basic Life Support performing in lay rescuers

19

การศึกษาเปรียบเทียบความแม่นยำในการใช้แอพพลิเคชั่น Tape measure PRO®, สายวัด และ pediatric emergency drug card (PED card) ในการวัดความยาวผู้ป่วยเด็ก
Accuracy of Tape measure PRO® application, Tape measure and pediatric emergency drug card (PED card) for measure height in pediatric

20

การทำนายปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วย SVT ไม่กลับมาเป็นซ้ำ หลังจากได้รับการรักษาด้วยยา adenosine ครั้งแรกที่ห้องฉุกเฉิน
Clinical prediction for non-recurrence SVT after first dose adenosine in ED

21

ประสิทธิภาพการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันในโรงพยาบาลรามาธิบดี
Effectiveness of Cardiopulmonary Resuscitation Quality in Ramathibodi Hospital

22

การศึกษาอาการปวดอย่างรุนแรงจากการใช้ combat application tourniquet ในนักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์
Tourniquet pain: Study in paramedic student

23

การศึกษาความน่าเชื่อถือของการคลาชีพจรเพื่อทานาย ค่าความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤต
Reliability of pulse palpation to predict systolic blood pressure in critical patient.

24

การสรุปทบทวนและทาซ้าหลังการฝึกสถานการณ์จาลองช่วยพัฒนาทักษะให้นักศึกษา PARAMEDIC ได้หรือไม่?
Can debrief and repeat simulation develop skill for paramedic student?

25

การจาลองสถานการณ์เสมือนจริงสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของ MU-ERT ในการดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจหยุดเต้นได้หรือไม่ ?
Can in situ simulation improve quality of Mahidol University Emergency Response Team (Mahidol-ERT) in cardiac arrest simulation?

26

ประสิทธิภาพของการใช้งานระหว่าง Spinal board และ Scoop stretcher ในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ (ศึกษาในหุ่น manikin)
Efficiency of using spinal board and scoop stretcher to packing traumatic patient (study in manikin model)

27

การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจในพื้นที่แสงต่างกันในโมเดลหุ่น
Comparison of Endotracheal tube intubation within different ambient light setting in manikin model

28

การเปรียบเทียบการรอดชีวิต ณ ห้องฉุกเฉินในกรณีผู้ป่วยภาวะหัวใจหยุดเต้นภายนอกโรงพยาบาล ระหว่างการช่วยหายใจโดยการใส่ท่อช่วยหายใจ (Endotracheal tube) การใส่หน้ากากครอบกล่องเสียง (Laryngeal Mask Airway : LMA) และการช่วยหายใจโดยใช้หน้ากาก (Bag-valve-mask)
Comparison of survival at ED of out-hospital cardiac arrest patients among using endotracheal tube, Laryngeal mask airway and Bag-valve-mask

29

การศึกษาความสอดคล้องในการประเมินผลการฝึกสถานการณ์จาลองระหว่างอาจารย์แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉินและนักศึกษาฉุกเฉินการแพทย์
The study of reliability between emergency physician staff and paramedic student to evaluate simulation training

30

การศึกษาความสอดคล้องในการใช้ Mobile E-FAST ระหว่างนักศึกษา Paramedic และนักศึกษาแพทย์
The reliability of the Mobile E-fast usage among Paramedic students and Medical students

31

การศึกษาเปรียบเทียบอัตราเร็วในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำระหว่างระหว่างวิธี IV Push โดยใช้ กระบอกฉีดยาขนาด 10 mL , 20 mL และวิธี Free Flow IV Infusion
The Effectiveness of Crystalloids Fluid Infusion Between IV Push with 10 mL , 20 mL Syrings and 2-Way Free Flow IV Infusion

32

ประสิทธิภาพของ Rama Warmer ในการเพิ่มระดับอุณหภูมิของสารน้าที่ให้ทางหลอดเลือดด้าไปที่ 39๐C
Effectiveness of Rama Warmer in temperature maintenance at 39°C for intravenous fluid.

33

เราจำเป็นที่จะต้องหยุดทำการกดหน้าอกขณะใส่ท่อช่วยหายใจในผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น หรือไม่ ?( ศึกษาในหุ่นจำลอง )
Is it necessery to stop chest compression the cardiac arrest patient ? ( Study in manikin model )