แนวปฏิบัติในการดูแลเพื่อป้องกันการหกล้ม

Print and Download => PDF file

แนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยสูงอายุในคลินิกเวชศาสตร์ครอบครัวเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ 

เรียบเรียงโดย พญ.จิตติมา บุญเกิด

1. แนวปฏิบัติในการดูแลกลุ่มที่มีการหกล้ม 1 ครั้งภายใน 1 ปี 

1. แนวปฏิบัติในการดูแลกลุ่มที่มีการหกล้ม 1 ครั้งภายใน 1 ปี

2. แนวปฏิบัติการดูแลรักษาในกลุ่มที่มีการหกล้มมากกว่า 1 ครั้งใน 1 ปี หรือ หกล้ม 1 ครั้งใน 1 ปี และมีผลกระทบทางร่างกาย เช่นมีการบาดเจ็บฟกช้ำ กระดูกหัก หรือ การเคลื่อนไหวลดลง หรือ กลัวการหกล้ม

 

ผู้ป่วยที่มาตรวจที่คลินิกเวชศาสตร์ครอบครัว โดยการคัดกรองจากพยาบาลคัดกรอง หรือ แพทย์สอบถาม

2. แนวปฏิบัติการดูแลรักษาในกลุ่มที่มีการหกล้มมากกว่า 1 ครั้งใน 1 ปี หรือ หกล้ม 1 ครั้งใน 1 ปี และมีผลกระทบทางร่างกาย เช่นมีการบาดเจ็บฟกช้ำ กระดูกหัก หรือ การเคลื่อนไหวลดลง หรือ กลัวการหกล้ม 
กรณีที่มีปัญหาเพิ่มเติม

กรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะซึมเศร้า หรือ สมองเสื่อมร่วมด้วย ทีมแพทย์ประเมิน

  1. กรณีผู้ป่วยไม่มีผู้ดูแล 
    • ให้ปรึกษานักสังคมสงเคราะห์เพื่อ ช่วยค้นหา family resources
    • ประสานกับศูนย์ของชุมชนเพื่อเยี่ยมประเมิน และขอความช่วยเหลือ
    • ติดตามกับศูนย์ เพื่อ ประเมินว่าผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือระดับไหนบ้างเป็นระยะ
    • ช่วยให้การบริการเข้าถึงได้ง่ายขึ้น
  2. กรณีผู้ป่วยมีผู้ดูแล 
    • Family Meeting มีแพทย์เป็นผู้ให้การอธิบาย สาเหตุ และ แนวทางการแก้ไข ร่วมไปถึง การให้ความรู้กับผู้ดูแล เท่าที่ผู้ดูแลสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้
    • การทำกายภาพที่โรงพยาบาล และที่บ้าน 
    • การปรับสิ่งแวดล้อมในบ้าน หรือ ปรับพฤติกรรมของผู้ป่วย
    • ติดตามเป็นระยะกับผู้ดูแล