ตารางที่1 ลักษณะที่ใช้แยกชนิดงูพิษที่มีความสำคัญทางคลินิคในประเทศไทย

 

งูพิษ

ตารางที่1 ลักษณะที่ใช้แยกชนิดงูพิษที่มีความสำคัญทางคลินิคในประเทศไทย

งูเห่าธรรมดา (Naja  kaouthia)
รูปที่ 4
งูเห่าพ่นพิษ (Naja  sputatrix)
รูปที่ 5 , รูปที่ 6
งูจงอาง (Ophiophagus  hunnah)
รูปที่ 7รูปที่ 8
1. เกล็ดที่หัวงูตรงขมับ  (parietal sclae) ขนาดเล็ก 1. parietal  scale ขนาดเล็ก 1. Parietal  scale ขนาดเล็ก 2 อัน
2. ที่คอเป็นรูปดอกจัน (monocellate) 2. ที่คอเป็นรูปตัวยู 2. ที่คอไม่มีเครื่องหมาย
  3.มีสีขาวแทรกที่ลำตัว ( พบบ่อยที่ภาคกลาง  เรียกว่า  งูเห่าปลวก)  
 
งูกะปะ (Calloselasma  rhodostoma)
รูปที่ 9
งูแมวเซา (Vipera  russelli)
รูปที่ 10
งูแม่ตะงาว (งูไม่มีพิษ) (Boiga  multimaculata)
รูปที่10a
1.ตัวเป็นรูปสามเหลี่ยมชัดเจน 1. หัวค่อนข้างมน 1. หัวมน
2. ตัวอ้วนป้อมและสั้น 2. ตัวอ้วนป้อมและสั้น 2. ตัวเรียวยาวเล็ก
3. ลำตัวเป็นรูปสามเหลี่ยม ชัดเจน บนหลังงู เป็นสันชัด 3. ลำตัวกลม 3. ลำตัวกลม
4. ลำตัวสีน้ำตาล ลายดำ เป็นรูปหัวลูกศร หัวลูกศรชี้ไปสันหลังอยู่สลับกัน (asymmetry) 4. ลำตัวสีน้ำตาล  ลายสีดำ เป็นรูปวงกลม 4. ลายแบบเดียวกันกับงูแมวเซา
5. หางสั้น 5. หางสั้น 5. หางยาวเรียว    ( มีต่อ )